วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การแทรกสอด (interference)

1.ตำแหน่งที่เกิดการรวมแบบเสริมกัน จะมีค่าแอมพลิจูดมาก เรียกตำแหน่งนี้ว่าปฏิบัพ (Antinode: A)
2.ตำแหน่งที่เกิดการรวมแบบหักล้างกันจะมีค่าแอมพลิจูดน้อยเกือบเป็นศูนย์ เรียกตำแหน่งนี้ว่า บัพ (node: N)  


รูปแสดงแนวการแทรกสอดของคลื่น เมื่อส่งคลื่นเฟสตรงกัน
ที่มา : http://kruweerajit1.blogspot.com/p/tre.html


ภาพเคลื่อนไหวแสดงการแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์
ที่มา : http://kruweerajit1.blogspot.com/p/tre.html


เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีเฟสตรงกันเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อเนื่องสองขบวน  เกิดแนวการแทรกสอด โดยที่แนวกลางระหว่างแหล่งกำเนิดคลื่นเป็นแนวการแทรกสอดแบบเสริม ให้ชื่อว่าแนวปฏิบัพกลาง A


ที่มา : http://kruweerajit1.blogspot.com/p/tre.html

1.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบเสริมกัน (แนวปฏิบัพ)






2.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบหักล้าง (แนวบัพ) 





เมื่อมีคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดคลื่นสองแหล่งที่มีเฟสตรงกันข้ามเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการซ้อนทับระหว่างคลื่นต่อเนื่องสองขบวน  เกิดแนวการแทรกสอด โดยที่แนวกลางระหว่างแหล่งกำเนิดคลื่นเป็นแนวการแทรกสอดแบบหักล้าง ให้ชื่อว่าแนวบัพกลาง N

ที่มา : http://kruweerajit1.blogspot.com/p/tre.html

1.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบเสริมกัน (แนวปฏิบัพ) จะสลับสูตรกับเฟสตรง




2.เมื่อให้ P เป็นจุดที่อยู่บนแนวการแทรกสอดแบบหักล้าง (แนวบัพ) จะสลับสูตรกับเฟสตรงกัน









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น